ข้อกำหนดในการ “ติดตั้ง” รางวายเวย์ ที่เราควรรู้

รางวายเวย์ นั้นเป็นอีกหนึ่งในความสำคัญอุตสาหกรรมอย่างมากนะครับ เพราะว่าในทุก ๆ อุตสาหกรรมนั้นจะต้องมีการใช้ รางวายเวย์ เพื่อใช้ในการเดินสายไฟ เพื่อให้อำนวยความสะดวกต่ออุตสาหกรรมนั้น ๆ และ  ในอุตสาหกรรมนั้นจะต้องมีการกำหนด และ ข้องบังคับในการเดินสายไฟภายในรางวายเวย์ด้วยเช่นกัน  ดังนั้นในบทความนี้เราจะมาดูกันถึงข้อบังคับ และ ข้อกำหนดในการเดินสายไฟกันดีกว่านะครับ  

การเดินสายไฟนั้นจะต้องเลือกพื้นที่เปิดโล่ง  

ในการติดตั้งรางวายเวย์ ภายในอุตสาหกรรมนั้นมีความสำคัญอย่างมาก และ จากมาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทยนั้นมีการระบุไว้ชัดเจนว่าในการเดินสายไฟของรางวายเวย์ นั้นจะต้องมีการเดินสายไฟที่มีพื้นที่เปิดโล่งเท่านั้น เพื่อที่จะให้เข้าถึง และ สามารถตรวจสอบได้ และจะได้ไม่มีปัญหาในการบำรุงหรือซ่อมแซมตลอดแนวความยาวได้นั้น จึงจะต้องติดตั้งในพื้นที่โล่งและกว้างเท่านั้น  

**ทริกซ์เล็ก ๆ น้อย ๆ หากว่ามีการใช้งาน และ การติดตั้งรางวายเวย์ นั้นถ้าหากว่าใช้งานภานนอกนั้นจะต้องใช้รางวายเวย์ ที่มีสามารถกันฝนได้เท่านั้น** 

รางวายเวย์จะต้องมีความแข็งแรงที่มากพอ 

รางวายเวย์ นั้นถ้าหากว่ามีการติดตั้งแล้วตามข้อบังคับนั้นจะต้องมีการติดตั้งที่แข็งแรงพอ เมื่อติดตั้งแล้วตัวรางวายเวย์ นั้นจะต้องไม่สูญเสียรูปลักษณ์เดิมไป และจ้องเป็นไปตามข้อกำหนดในการติดตั้งในเรื่องของ การติดตั้งด้วยโดยถ้าหากว่าจะติดตั้งนั้นพื้นที่จะต้องไม่การผุกร่อนเอาได้ เพราะว่าจะช่วยป้องกันอุบัติเหตุได้ง่ายขึ้น 

*พื้นที่หน้าตัด และ ฉนวนจะต้องไม่เกิน 20 ของพื้นที่* 

จำนวนสายไฟจะต้องไม่เกิน 30 เส้น  

ในข้อกำหนดของการเดินสายไฟนั้น การสางสายไฟแกนเดียว  รวมทั้งสายดินนั้นจะต้องมัดรวมเป็นกลุ่มเดียวกันในการเดินสายไฟ และ ที่สำคัญจำนวนของสายไฟนั้นจะต้องมีจำนวนที่ไม่เกิน 30เส้นด้วยเช่นกันเพื่อป้องกันไม่ให้ เกิดอุบัติเหตุจากกระแสไฟฟ้าลัดวง หรือ จากสายไฟที่มากเกินไปอาจจะทำให้เกิดไฟช็อตภายในรางวายเวย์ได้ด้วยเช่นกัน  

*ห้ามติดตั้ง รางวายเวย์ ตรงจุดที่มีการผนัง หรือ พื้น เด็ดขาด และ ห้ามใช้รางวายเวย์ นั้นเป็นตัวนำในการต่อลง และ ห้ามใช้รางเกินขนาด 150*300 มิลลิเมตร) 

การต่อสาย  

ในการต่อสาย และ รางวายเวย์ นั้นจะอนุญาตให้ต่อสายเฉพาะในส่วนที่เปิดออก และ เข้าถึงได้ตลอดเวลาเท่านั้นและในส่วนของพื้นที่หน้าตัดนั้นรวมทั้งในเรื่องของข้อต่อ และ หัวต่อนั้นจะต้องไม่เกินร้อยละ 75 ของพื้นที่หน้าตัดทั้งหมด  

ในกรณีที่มีการดัด หรือ งด 

ในส่วนของพื้นที่ที่มีความจำเป็น ต้อง ดัด หรือ งอ สาย เพื่อให้สะดวกต่อการเดินระบบไฟฟ้าแล้ว ต้องจัดให้มีที่ว่างสำหรับการดัด หรือ งอ สายให้เพียงพอ  และต้องมีการป้องกันไม่ให้ส่วนของที่มีคมนั้นเข้ามาในส่วนของการดัด และ งอได้เพื่อป้องกันการบาดที่อาจจะเกิดขึ้นในสายไฟได้ด้วยนั้นเอง  

**ที่จุดปลายรางเดินสายไฟนั้น จะต้องมีการปิดปลายรางเพื่อป้องกันมีสิ่งแปลกปลอมเข้าไปในรางสายไฟได้นั้นเอง** 

ดังนั้นจะเห็นว่าการเดินสายไฟ รางวายเวย์ นั้นไม่ใช่เรื่องง่าย ๆ นะครับ เพราะว่าจะต้องมีข้อบังคับที่หลากหลายอย่างมากเพื่อให้การเดินสายไฟนั้นเป็นไปได้ด้วยดี และ มีมาตรฐาน และปลอดภัยในการเดินสายไฟผ่านรางวายเวย์ด้วยนั้นเอง 

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *